ชีววิทยา

ชีววิทยา ระดับชั้น ม.5

รายละเอียดคอร์ส

มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.5)

เนื้อหา

***สามารถเปลี่ยนแปลง เนื้อหา บทเรียน ตามหลักสูตรของโรงเรียนที่ผู้เรียน ศึกษาอยู่***

หน่วยที่ 4 การดำรงชีวิตของพืช

บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
— 12.1.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก
— 12.1.2 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด
12.2 โครงสร้างภายในของลำ ต้นพืช
— 12.2.1 หน้าที่และชนิดของลำ ต้น
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
— 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ
— 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ
— 12.3.3 หน้าที่ของใบ
12.4 การคายนํ้าของพืช
— 12.4.1 ปากใบและการคายนํ้าของพืช
— 12.4.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการคายนํ้า
12.5 การลำ เลียงนํ้าของพืช
12.6 การลำ เลียงธาตุอาหารของพืช
— 12.7.1 การเคลื่อนย้ายสารอาหารในพืช
— 12.7.2 กระบวนการลำ เลียงสารอาหาร

บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง

13.1 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
13.2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
— 13.2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
— 13.2.2 สารสีในปฏิกิริยาแสง
13.3 โฟโตเรสไพเรชัน
13.4 กลไกการเพิ่มความเข้นข้นของ CO2 ในพืช C4
— 13.4.1 โครงสร้างของใบที่จำ เป็นต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
— 13.4.2 วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4
13.5 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชซีเอเอ็ม (CAM)
13.6 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
— 13.6.2 คาร์บอนไดออกไซด์
— 13.6.4 อายุใบ
— 13.6.5 ปริมาณนํ้าที่พืชได้รับ
— 13.6.6 ธาตุอาหาร
13.7 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

บทที่ 14 การสืบพันธุ์ของพืชดอก

14.1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
— 14.1.1 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก
— 14.1.2 การเกิดเมล็ด
— 14.1.3 ส่วนประกอบของเมล็ด
— 14.1.4 การพักตัวของเมล็ด
14.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช
14.3 การวัดการเจริญเติบโตของพืช

บทที่ 15 การตอบสนองของพืช

15.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
15.2 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

 

-------------เทอม 2---------------

หน่วยที่ 5 พันธุศาสตร์

บทที่ 16 การค้นพบกฏการถ่ายทอดทางพันธุกรรม

16.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
16.2 กฎแห่งการแยกตัว
16.3 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ
16.4 การทดสอบจีโนไทป์
16.5 ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
— 16.5.1 ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์
— 16.5.2 การข่มร่วมกัน
— 16.5.3 มัลติเปิลอัลลีล
— 16.5.4 มัลติเปิลยีน
— 16.5.5 ยีนในโครโมโซมเพศ
— 16.5.6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน
— 16.5.7 อิทธิพลของเพศต่อการแสดงออกของยีน
— 16.5.8 พันธุกรรมจำ กัดเพศ

บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม

17.1 การค้นพบสารพันธุกรรม
17.2 ยีนอยู่ที่ไหน
— 17.2.1 การค้นพบบทบาทของโครโมโซม
— 17.2.2 รูปร่าง ลักษณะ และจำ นวนโครโมโซม
— 17.2.3 ส่วนประกอบของโครโมโซม
17.3 จีโนม
17.4 ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA
17.5 โครงสร้างของ DNA
17.6 สมบัติของสารพันธุกรรม
— 17.6.1 การจำ ลองตัวของ DNA
— 17.6.2 DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมได้อย่างไร
17.7 มิวเทชัน

บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ

18.1 ความเป็นมาของพันธุวิศวกรรม
18.2 พันธุวิศวกรรมกับการประยุกต์ใช้ประโยชน์
18.3 พันธุศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์

หน่วยที่ 6 วิวัฒนาการ

บทที่ 19 วิวัฒนาการ

19.1 หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
— 19.1.1 หลักฐานจากซากดึกดำ บรรพ์ของสิ่งมีชีวิต
— 19.1.2 หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
— 19.1.3 คัพภะวิทยาเปรียบเทียบ
— 19.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล
— 19.1.5 หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์
19.2 แนวความคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
— 19.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ก
— 19.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วิน
— 19.2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักวิวัฒนาการยุคใหม่
19.3 พันธุศาสตร์ประชากร
— 19.3.1 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก
— 19.3.2 สมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก
— 19.3.3 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์กกับโรคทางพันธุกรรม
19.4 ปัจจัยที่ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
19.5 กำเนิดของสปีชีส์
— 19.5.1 ความหมายของสปีชีส์
— 19.5.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่
19.6 วิวัฒนาการกับความหลากหลายทางชีวภาพ

**เนื้อหาข้างต้นเป็นไปตามหลักสูตร สสวท. อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามหลักสูตรของแต่ละโรงเรียน**

ข้อมูลคอร์ส

  • ราคาเริ่มต้น: 5,000.00 บาท
  • อายุคอร์ส: 3 เดือน
  • วันที่เรียน:
  • เวลา: -
  • จำนวนชั่วโมงเริ่มต้น: 10.00 ชั่วโมง

รีวิว

ความนิยมเฉลี่ย:3.00

5 Stars0
4 Stars0
3 Stars40
2 Stars0
1 Star0

ตารางเรียน


หากต้องการวันเวลาเรียนเพิ่มเติมนอกเหนือจากตารางเรียน สามารถกดปุ่ม "ร้องขอเวลาเรียนได้"